Smoke Detector



Smoke Detector 





“สัญญาณขัดข้อง” (Trouble signal) หมายถึง สัญญาณเสียงหรือแสง ที่มีวัตถุประสงค์ในการเตือนให้
ผู้รับผดชอบทราบว ิ าเก่ ิดเหตุขัดของอย ้ างใดอย ่ างหน ่ ึ่งในอุปกรณ์หรือระบบ เช่น สายสัญญาณขาดหรือลดวงจร ั
แบตเตอรี่หรือแหล่งจ่ายไฟฟ้าบกพร่อง เป็นต้น
“อปกรณ ุ ์ตรวจจบคว ั ัน” (Smoke detector) หมายถึงอุปกรณ์ที่ใชในการตรวจว ้ ดคั ่าความหนาแน่นของเขม่าหรือ
ผงคาร์บอนที่เกิดจากการลุกไหมของเช ้ ้ือเพลิงดวยหล ้ กการ ั การหักเหของแสง หรือหลกการบ ั งแสง ั หรือ
หลกการทางว ั ทยาศาสตร ิ ์อื่น ๆ ที่ยอมรับได้
“ความไวในการตรวจจับ” (Sensitivity) หมายถึงการตอบสนองของอุปกรณ์ตรวจจบคว ั ัน ซึ่งทาการตรวจว ํ ดคั ่า
ความหนาแน่นของควนแบบเช ั ิงสมพั นธั ์ภายในกล่องหรือช่องตรวจวัด ค่าความไวสูงจะทาใหํ ้อุปกรณ์ตรวจจับ
ควนตอบสนองได ั เร้ ็วกวาค่ าความไวต ่ ากว ํ่ าภายใต ่ สภาวะความหนาแน ้ ่นของควนแบบเด ั ียวกนั
“แผงควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้” (Fire alarm control panel) หมายถึงอุปกรณ์ที่ออกแบบให้สามารถ
ควบคุม ตรวจวัด ค่าทางไฟฟ้าของอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มาเชื่อมต่อผ่านสายสัญญาณหรือคลื่นวิทยุและสามารถ
ตรวจสอบการทางานของอ ํ ุปกรณ์ภายในของระบบได้โดยแผงควบคุมน้ีต้องออกแบบเพอการแจ ื่ งเหต ้ ุเพลิงไหม้
“สัญญาณแจ้งเหตุ” (Alarm signal) หมายถึง สัญญาณเสียงหรือแสง ที่มีวัตถุประสงคในการเต ์ ือนภยให ั ้ผู้ใช้
อาคารอพยพหรือทาการด ํ บเพล ั ิงข้นตั นก้ ่อนที่เพลิงไหมจะล ้ ุกลามเป็นเพลิงไหมขนาดใหญ ้ ่ที่ไม่สามารถควบคุม
ได้ง่าย
หลักการทำงาน
โดยทั่วไป Smoke detector (ตัวจับควัน) ที่ใช้ในบ้านหรือสำนักงาน จะมี 2 ชนิดคือ แบบ Ionization และแบบ Photoelectric
แบบ Ionization จะมีคุณสมบัติในการตรวจจับที่ไว และจับควันที่มีอนุภาคเล็กๆ ระหว่าง 0.01-0.4 ไมครอนได้ดี ซึ่งมักจะเกิดจากการเผาไหม้อย่างรวดเร็ว เช่น การไหม้ของกระดาษ หรือสารไวไฟ แต่ก็มีข้อเสียตรงที่เมื่อใช้ไปนานๆ ฝุ่นที่สะสมในช่องดักควันของตัวมันจะทำให้ตัวมันทำงานไวเกินไป หรือทำงานผิดผลาดได้
แบบ Photoelectric เหมาะสำหรับการจับควันที่มีอนุภาคระหว่าง 0.4-10 ไมครอน ซึ่งมักจะเกิกจากการเผมไหม้อย่างช้าๆ เช่น การไหม้ที่เกิดจากการทิ้งบุหรี่ลงบนพรม หรือเตียงไฟจะคร่อยๆครุ และเกิดควันดำมากขึ้นเลื่อยๆ ความผิดผลาดจากความสกปรกจากฝุ่นจะน้อยกว่า แต่ความไวในการตรวจจับก็ช้ากว่าแบบ Ionization
Photo smoke operate
จากรูปข้างบน เป็นการทำงานของตัวจับควันแบบใช้แสง
เมื่อวัสดุติดไฟถูกเผาไหม้อย่างช้าๆ ควันที่ได้จะมีควันดำปริมาณมากและจะลอยขึ้นด้านบน ค่อยๆกระจายไปบนเพดาน หากปริมาณควันเข้าไปในช่องดักควันของตัวจับควันมากพอ จะทำให้แสงจากตัวส่องแสงไปตกกระทบที่ตัวรับแสงลดลง ทำให้วงจรอีเลคโทรนิคส์ภายในตรวจได้ว่าเกิดเพลิงไหม้
ข้อเสียของการตรวจจับแบบนี้คือ เมื่อมีฝุ่นสะสมภายในช่องดักควันมากๆ จะทำให้ตัวยิงแสงและตัวรับแสงสกปรก จะทำให้มันทำงานผิดผลาด จึงมีการพัฒนาใช้เทคนิคการกระเจิงของแสงมาทดแทนตามรูปข้างล่าง
Scattering detection
แทนที่จะยิงแสงไปที่ตัวรับแสงโดยตรง จะอาศัยการกระเจิงของแสงที่เกิดจากควันแทน ในสภาวะปกติ ถ้าไม่มีควันภายใน แสงจะสะท้อนไปตกที่ตัวรับแสงน้อยมาก แต่เมื่อมีควันเข้าไปสะสมจนทำให้ปริมาณแสงที่สะท้อนจากตัวควันไปยังตัวรับแสงมากพอ วงจรอีเลคโทรนิคส์ภายในก็จะตรวจจับได้ ทำให้แก้ปัญหาเรื่องฝุ่นไปได้ระดับนึง แต่จะมีปัญหาหากนำไปติดใกล้หลอดไฟแบบฟูออเรสเซนต์หรือหลอดตะเกียบมากเกินไป แสงอินฟราเรดจากหลอดไฟอาจสะท้อนเข้าไปภายในได้ทำให้เกิดความผิดผลาด
แหล่งอ้างอิง http://premas.igetweb.com




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น